Indorama Ventures A4 TH

ผลกระทบต่อไอวีแอล ในขณะที่โลกก� ำลังมุ่งมั่นสู่การบรรเทาปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก็ยังคงมีประเด็นที่ต้องปรับปรุงแก้ไข ซึ่งความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนนับเป็นกุญแจส� ำคัญในการบรรลุเป้าหมายเหล่านี้ จึงเป็นเหตุผลส� ำคัญที่องค์กร ต่างๆ ต้องก้าวขึ้นมาและประกาศความมุ่งมั่นในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อแสดงให้เห็นถึงบทบาทของเราในการบรรเทาผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศ เราได้เข้าร่วมกับผู้น� ำจากกว่า 90 องค์กร ข้ามชาติขนาดใหญ่ในการลงนามในจดหมายเปิดผนึกล่าสุด ซึ่งเผยแพร่โดย CEOs Climate Alliance ผู้ลงนามทั้งหมดมุ่งมั่น ที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากกว่า 1 จิกะตันต่อปี ภายในปี 2573 และเชื่อว่าภาคธุรกิจต่างๆ สามารถช่วยกันได้มากขึ้น ถ้าหากผู้น� ำระดับโลกสามารถบรรลุข้อตกลงที่ COP26 ซึ่งจะช่วยให้เรารักษาอุณหภูมิโลกไว้ไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียสได้ เราตระหนักดีว่าการท� ำงานร่วมกันมากขึ้นจะช่วยเร่งกระบวนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเราค� ำนึงถึงการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกในทุกกิจกรรมที่เราท� ำ ท้าทายตัวเอง และผลักดันวาระนี้ให้ก้าวหน้า รวมถึงในการประชุม COP27 ด้วยเช่นกัน ความเสี่ยง ไอวีแอลค� ำนึงถึงการเพิ่มขึ้นของ OPEX ในการจัดการ กับภาษีด้านสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้นในอนาคต อีกทั้งเรา ได้ คาดการณ์ การเพิ่มขึ้นของ CAPEX โดยลงทุน ในเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นในกฎหมายและข้อบังคับ ด้านสิ่งแวดล้อม โอกาส ความมุ่งมั่นในการจัดหาเงินทุนด้านสภาพภูมิอากาศ ในการประชุม COP26 ช่วยให้เราสามารถใช้ประโยชน์ จากโอกาสในการจัดหาเงินทุนทางการเงิน เพื่อสนับสนุน ความพยายามในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลก และบรรลุเป้าหมายด้านความยั่งยืนของเรา การใช้โอกาสให้เกิดประโยชน์สูงสุด เราสามารถจัดหาเงินทุนเพื่อความยั่งยืนได้ 1,300 เหรียญ สหรัฐ ในปี 2564 โดยมาจาก - ได้รับเงินกู้สีเขียวจากธนาคาร Mizuho ของญี่ปุ่น เป็นรายแรกของประเทศไทย คิดเป็นมูลค่า 200 ล้านเหรียญสหรัฐ และ 200 ล้านยูโร - ธนาคาร Mizuho จัดหาเงินกู้ร่วม ESG มูลค่า 255 ล้านเหรียญสหรัฐ - ได้รับเงินกู้สีน�้ ำเงินมูลค่า 300 ล้านเหรียญสหรัฐ จาก International Finance Corporation (IFC) - หุ้นกู้ส่งเสริมความยั่งยืนมูลค่าสูงสุดในประเทศไทย 10,000 ล้านบาท (ประมาณ 300 ล้านเหรียญสหรัฐ) การลงทุนดังกล่าวน� ำไปใช้เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในการด� ำเนินการและผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคาร์บอนต�่ ำ โดยยังค� ำนึงถึงความต้องการของลูกค้า ด้วยมาตรการ เชิงรุกเหล่านี้ ช่วยให้เราสามารถรักษาต� ำแหน่งและพัฒนา ความสามารถในการแข่งขันในฐานะบริษัทเคมีภัณฑ์ชั้นน� ำ การบรรเทาความเสี่ยง • ราคาคาร์บอน - เราได้น� ำราคาคาร์บอนมาใช้ในการตัดสินใจลงทุน และแผนธุรกิจ 5 ประเทศที่เราด� ำเนินการอยู่แล้วมี ข้อบังคับการก� ำหนดราคาคาร์บอน และเราคาดว่า จะเห็นความครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต • พลังงานสะอาดและโครงการด้านสิ่งแวดล้อม - เราก� ำลังเปลี่ยนสู่แหล่งพลังงานที่สะอาดกว่าและ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อช่วยลดมลพิษ จากโรงงานของเรา • การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในห่วงโซ่อุปทาน - เราก� ำลังด� ำเนินโครงการห่วงโซ่อุปทานที่ยั่งยืน ซึ่งช่วยจัดล� ำดับความส� ำคัญด้านสภาพภูมิอากาศ ของซัพพลายเออร์ • การปรับใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวทาง ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในช่วงแรก - เราได้ ก้ าวน� ำหน้ าโดยใช้ เทคโนโลยีการดักจับ การใช้ประโยชน์ และการกักเก็บคาร์บอน (CCUS) ภายในโรงงานของเรา และการรีไซเคิลขั้นสูง เพื่อ ขับเคลื่อนความพยายามในการหมุนเวียนใช้ 3 2 5 6 4 ร ายง านคว ามยั่ งยืนปี ธุรกิจที่มีความรับผิดชอบและ การกำ �กับดูแลที่มีประสิทธิภาพ การขับเคลื่อนการสร้างคุณค่าและ การเติบโตอย่างยั่งยืน การมุ่งสู่การปล่อย ก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ การเสริมสร้างพลังให้กับ พนักงานและชุมชนของเรา ข้อมูลผลการดำ �เนินงาน ทั่วโลก ดัชนีมาตรฐาน GRI

RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=