เรามุ่งมั่นที่จะแสดงบทบาทในการสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

2023 SDGs progress

อินโดรามา เวนเจอร์ส ได้เดินทางไปเยี่ยมสำนักงานใหญ่ของ UN Global Compact ในนครนิวยอร์ก

อินโดรามา เวนเจอร์ส ได้เข้าพบกับ คุณ Sue Allchurch หัวหน้าฝ่าย Outreach and Engagement และ คุณ Maxell MacKenna ผู้จัดการฝ่ายระดมทุนและการสนับสนุน

วัตถุประสงค์ของการประชุมครั้งนี้คือการหารือเกี่ยวกับโอกาสความร่วมมือที่อาจเกิดขึ้นใน Supply Chain Pilot Program ของ UN Global Compact ซึ่งเป็นโครงการที่ช่วยส่งเสริมแนวปฏิบัติที่ยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทาน โดยครอบคลุมประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม แรงงาน และการต่อต้านการทุจริต ตามหลักการของ UN Global Compact โครงการนี้ยังสามารถสนับสนุนเป้าหมาย Net Zero และ SDGs (เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน) ได้อีกด้วย

นอกจากนี้ อินโดรามา เวนเจอร์ส ยังได้ใช้โอกาสนี้มอบรายงาน SDGs ของบริษัทให้แก่คุณ Allchurch และคุณ MacKenna ซึ่งทั้งสองท่านได้แสดงความชื่นชมต่อรายงานดังกล่าว รวมถึงความพยายามและการมีส่วนร่วมของอินโดรามา เวนเจอร์ส ในการบรรลุเป้าหมาย SDGs ของสหประชาชาติ

สร้างความเชื่อมั่นด้านสุขภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ พนักงาน และผู้รับเหมา

ผลลัพธ์

  • 165 โครงการ สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน กีฬาและสุขภาพ รวมถึง คุณภาพความเป็นอยู่ที่ดี
  • 85 โครงการ สนับสนุนกลุ่มผู้เปราะบาง ผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ และผู้ประสบเหตุการณ์ ฉุกเฉิน
  • 110 โครงการ สนับสนุนกิจกรรม และประเพณีท้องถิ่น
  • 37 โครงการ ส่งเสริมธุรกิจของชุมชน และพัฒนาทักษะ
  • มีผู้รับประโยชน์จากการดูแลชุมชนจำนวน 98,496 คน ซึ่งเป็นชุมชนท้องถิ่นและกลุ่มอาสาสมัคร (ตั้งแต่ปี 2563)
  • การสนับสนุนทางสังคมรวมเป็นมูลค่า 3,226,922 ดอลลาร์สหรัฐ (สิ่งแวดล้อม ความรู้ และการดูแลชุมชน)
  • ไม่มีพนักงานเสียชีวิต
  • อัตราการบาดเจ็บจากการทำงานโดยรวม: 0.68 กรณี/200,000 ชั่วโมงทำงาน
  • อัตราการบาดเจ็บจากการทำงานถึงขั้นหยุดงาน: 0.49 กรณี/200,000 ชั่วโมงทำงาน

ความมุ่งมั่นของเรา

  • เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและจำเป็น โดยตั้งเป้าช่วยเหลือประชาชนอย่างน้อย 100,000 คนในชุมชนภายในปี 2573
  • ลดอัตราการบาดเจ็บจากการทำงานถึงขั้นหยุดงาน (LTIFR) ให้น้อยกว่า 0.46 กรณี/200,000 ชั่วโมงการทำงานภายในปี 2025 และน้อยกว่า 0.1 กรณี/200,000 ชั่วโมงการทำงานภายในปี 2573

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

ทรัพยากรบุคคล

การรับผิดชอบต่อสังคม

มอบโอกาสการเรียนรู้และการพัฒนาความสามารถแก่ พนักงานทุกคน และส่งเสริมการให้ความรู้ด้านการรีไซเคิลสู่สังคม

ผลลัพธ์

  • การให้ความรู้ด้านการรีไซเคิล: ให้ความรู้แก่ประชาชน 682,204 คนเกี่ยวกับการรีไซเคิลตั้งแต่ปี 2561 ความร่วมมือกับสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร (BMA) ซึ่งเริ่มในปี 2565 ได้เข้าถึงโรงเรียน 100 แห่ง และมีนักเรียนและครูเข้าร่วม 11,593 คน
  • Waste Hero Education: แหล่งข้อมูลระดับโลกสำหรับครูที่มีแผนการสอนที่ออกแบบมาอย่างดี 19 แผน ซึ่งเน้นเรื่องการรีไซเคิลขั้นพื้นฐาน การสร้างขยะเป็นศูนย์ และการสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียน
  • STEM Education and Innovation: ดำเนินโครงการ 9 โครงการเพื่อสนับสนุนการศึกษา STEM การแข่งขัน ความท้าทาย และโครงการนวัตกรรม, 65 โครงการที่ส่งเสริมความตระหนักและการศึกษาเรื่องการรีไซเคิล, และ 24 โครงการที่สนับสนุนการฝึกงานและทุนการศึกษา
  • การพัฒนาศักยภาพพนักงานผ่านโครงการ IVEX (Indorama Ventures Excellence): จัดฝึกอบรม White Belt รวม 14,102 ชั่วโมง, พนักงาน 21,212 คน (79% ของพนักงานทั้งหมด) ได้รับการฝึกอบรม Lean ระดับเริ่มต้นและ White Beltพนักงาน 1,928 คน (7%) ได้รับการฝึกอบรมในระดับสูงกว่า (Lean Six Sigma Belts)

ความมุ่งมั่นของเรา

  • ให้ความรู้แก่ผู้บริโภค 1 ล้านคนทั่วโลกเกี่ยวกับการรีไซเคิลผ่านโครงการและช่องทางต่าง ๆ ทั้งของบริษัทเองและผ่านความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอก ภายในปี 2573

ทรัพยากรบุคคล

การรับผิดชอบต่อสังคม

สนับสนุนความเท่าเทียมกันทางเพศ และการเพิ่มการเข้าร่วม และความก้าวหน้าของสตรี

ผลลัพธ์

  • 24.26% ของพนักงานประจำเป็นผู้หญิง
  • 21.50% พนักงานหญิงที่อยู่ในตำแหน่งบริหาร
  • มีพนักงานจำนวน 221 คน ที่เป็นผู้พิการในองค์กร

ความมุ่งมั่นของเรา

  • เพิ่มจำนวนพนักงานหญิงที่อยู่ในตำแหน่งบริหารและผู้นำองค์กร
  • ส่งเสริมให้ผู้หญิงกลุ่มเปราะบางได้รับทักษะที่จำเป็นเพื่อการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น
  • ไม่มีการละเมิดด้านสิทธิมนุษยชน

ทรัพยากรบุคคล

การรับผิดชอบต่อสังคม

บริหารจัดการการใช้น้ำและการปล่อยทิ้งอย่างยั่งยืนและวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านทรัพยากรน้ำทั่วโลกเพื่อลดวิกฤติด้านน้ำ

ผลลัพธ์

  • 100% ของน้ำที่ปล่อยทิ้งได้รับการบำบัด
  • อัตราการใช้น้ำ: 5.21 ลบ.ม./ตันการผลิต
  • 1.33% อัตราการใช้น้ำลดลงในปี 2565
  • 6.96% อัตราน้ำที่นำมารีไซเคิลและใช้ซ้ำ
  • การวิเคราะห์ความตึงเครียดด้านน้ำ ด้วยเครื่องมือ WRI Aqueduct

ความมุ่งมั่นของเรา

  • ลดอัตราการใช้น้ำลง 10% ในปี 2568 และ 20% ในปี 2573 (จากระดับในปี 2563)
  • เพิ่มการเข้าถึงน้ำดื่มที่ปลอดภัยสำหรับชุมชนในพื้นที่ชนบท

การดูแลสิ่งแวดล้อม

การบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน

การบริหารจัดการความเสี่ยง

เพิ่มการใช้พลังงานไฟฟ้าที่มาจากแหล่งพลังงานทดแทนในพื้นที่ดำเนินงานที่เป็นไปได้

ผลลัพธ์

  • ในปี 2565 มีการใช้พลังงานทดแทนรวมที่ 728,630 กิกะจูล
  • ใช้ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน คิดเป็น 3.14% ของการใช้ไฟฟ้าทั้งหมด
  • ไฟฟ้าจากแหล่งทดแทนที่นำมาใช้ในโรงงาน ทั้งสิ้น 4 โรงงาน
  • 58 % ของการดำเนินธุรกิจทั้งหมด ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 50001
  • มีจำนวนการติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย์ทั้งในและนอกสถานที่รวม 16 แห่ง
  • 176,137 เมกะวัตต์ชั่วโมงของพลังงานหมุนเวียนที่ซื้อพร้อมใบรับรองผ่านสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (PPAs) ในสหรัฐอเมริกาและยุโรป

ความมุ่งมั่นของเรา

  • การใช้ไฟฟ้าทดแทนอยู่ที่ 10% ในปี 2568 และ 25% ภายในปี 2573
  • ลดอัตราการใช้พลังงาน 5% ในปี 2568 และ 15% ภายในปี 2573

การบริหารจัดการด้านพลังงาน

การบริหารจัดการด้านพลังงานทดแทน

จัดให้มีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสม การไม่เลือกปฏิบัติ และโอกาสที่เท่าเทียมกัน ในพื้นที่การดำเนินงานและในห่วงโซ่อุปทาน

ผลลัพธ์

  • 86.43% ของอัตราการรักษาพนักงาน
  • มีการจ้างงาน 221 คน ที่ทีความบกพร่องและพิการ
  • 15% ของพนักงานอยู่ในกลุ่มอายุน้อยกว่า 30 ปี
  • การฝึกอบรม 831,855 ชั่วโมง

ความุ่งมั่นของเรา

  • อัตราการบาดเจ็บจากการทำงานถึงขั้นหยุดงานลดลงน้อยกว่า 0.46 กรณี/200,000 ชั่วโมงทำงาน ในปี 2568 และน้อยกว่า 0.1 กรณี/200,000 ชั่วโมงทำงาน ในปี 2573

ทรัพยากรบุคคล

การรับผิดชอบต่อสังคม

การเพิ่มขีดความสามารถการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยการลงทุนในการผลิต นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ผลลัพธ์

  • 483 ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เปิดตัวในปี 2566
  • 36.4 ล้านเหรียญสหรัฐ ในการวิจัยและพัฒนา
  • 330 พนักงานด้านการวิจัยและพัฒนา / 27 ศูนย์การวิจัยและพัฒนา ในปี 2566
  • 71 สิทธิบัตรในปี 2565
  • โครงการร่วมกับลูกค้า ซัพพลายเออร์ และสถาบันการศึกษามากกว่า 233 โครงการ
  • สัดส่วนยอดขายผลิตภัณฑ์ใหม่*ในปี 2566: ธุรกิจเส้นใย = 18% , ธุรกิจ combined PET = 27.3% และธุรกิจ Indovinya** = 17.7%

ความมุ่งมั่นของเรา

  • ไม่ต่ำว่า 15% ของรายได้มาจากผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืน
  • 50% ของผลิตภัณฑ์ที่เปิดตัวตั้งแต่ปี 2568 เป็นต้นไปจะถูกจัดประเภทเป็นผลิตภัณฑ์ที่ยั่งยืน

* สัดส่วนยอดขายผลิตภัณฑ์ใหม่ คือ รายได้ที่เกิดจากยอดขายผลิตภัณฑ์ ที่พัฒนาขึ้นในช่วง 5 ปีหลัง
** Indovinya ชื่อธุรกิจเดิมคือธุรกิจออกไซด์และอนุพันธ์แบบบูรณาการ

การบริหารจัดการนวัตกรรม

รีไซเคิล

การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

เสริมสร้างความพยายามที่จะปกป้องมรดกทางธรรมชาติและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยมุ่งเน้นที่ผู้คนในสถานการณ์ที่เปราะบางเพื่อสร้างเมืองและชุมชนที่ยั่งยืน

Outcomes

  • 324,256 ตัน เท่ากับ 21.6 พันล้าน ขวด PET หลังการบริโภค ได้รับการจัดการแทนการฝังกลบและการรั่วไหลลงสู่ทะเลในปี 2566
  • 75% ของของเสียทั้งหมดในการดำเนินงานของเรา ได้รับการจัดการแทนการฝังกลบ
  • โครงการการศึกษาเรื่องการรีไซเคิลในประเทศไทย ได้สร้างผลตอบแทนสูงถึง 2.76 เท่าของเงินลงทุนเริ่มต้น ในช่วงปี 2018-2023 ซึ่งสะท้อนถึงผลกระทบที่สำคัญและยั่งยืนของโครงการนี้
  • 85 โครงการ ที่มุ่งให้การสนับสนุนกลุ่มเปราะบาง ช่วยเหลือจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ และกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ
  • 35 โครงการ ที่มุ่งเสริมสร้างศักยภาพของธุรกิจท้องถิ่นและการพัฒนาทักษะใน 9 ประเทศทั่วโลก
  • การลงทุนที่เกี่ยวกับชุมชน มากกว่า 2,437,869 เหรียญสหรัฐ

Our Commitments

  • รีไซเคิลขวด PET จำนวน 50,000 ล้านขวดต่อปี ในปี 2568
  • ปรับปรุงประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจในการดำเนินงานของเราผ่านความคิดริเริ่มด้านความยั่งยืนและโครงการสีเขียว
  • 90% ของของเสียทั้งหมดได้รับการจัดการแทนการฝังกลบ ในปี 2568

ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม

รีไซเคิล

การบริหารจัดการของเสียอย่างยั่งยืน

การรับผิดชอบต่อสังคม

ลดผลกระทบอันเกิดจากผลิตภัณฑ์ของเราในระหว่างการไปใช้ และส่งเสริมวิธีการต่างๆ เพื่อการรีไซเคิล

ผลลัพธ์

  • เราประสบความสำเร็จในการรีไซเคิลขวด PET จำนวน 100 พันล้านขวดในปี 2566 ผลกระทบที่เกิดขึ้น: ลดปริมาณขยะออกจากสิ่งแวดล้อมได้ 2.1 ล้านตันและลดการปล่อยคาร์บอนฟุตพริ้นต์ได้ 2.9 ล้านตัน
  • 75% ของของเสียทั้งหมด ได้รับการจัดการแทนการฝังกลบ
  • 6.96% อัตราน้ำที่นำมารีไซเคิลและใช้ซ้ำ
  • โรงงานรีไซเคิลของเราจำนวน 20 แห่งสามารถรีไซเคิลขวด PET ได้ 686 ขวดต่อวินาที

ความมุ่งมั่นของเรา

  • รีไซเคิล PET หลังการบริโภคปริมาณ 750,000 ตันต่อปี มาเป็นวัตถุดิบในการผลิตโพลีเอสเตอร์ ในปี 2568 และรีไซเคิลขวด PET จำนวน 50,000 ล้านขวดต่อปี ในปี 2568
  • ลดอัตราการใช้น้ำทั้งหมด 10% ในปี 2568 เมื่อเทียบกับขอบเขตการรายงานปี 2563
  • 90% ของของเสียทั้งหมดได้รับการจัดการแทนการฝังกลบ ในปี 2568
  • ให้ความรู้เรื่องการรีไซเคิล PET แก่ผู้บริโภคทั่วโลก จำนวน 1,000,000 คน ในปี 2573

รีไซเคิล

ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์

การดูแลสิ่งแวดล้อม

ปรับปรุงด้านการใช้ทรัพยาการ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และพัฒนากลยุทธ์คาร์บอนต่ำ

ผลลัพธ์

  • ลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์ 3.2 ล้านตัน โดยการรีไซเคิลขวดพลาสติก PET หลังการบริโภค
  • การลงทุนในโครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงาน 13.1 ล้านเหรียญสหรัฐ
  • ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 138,750 ตัน ผ่านการใช้พลังงานหมุนเวียน (ชีวมวล ไบโอแก๊ส และไฟฟ้าหมุนเวียน)
  • ดำเนินการตาม COP21 และกรอบการดำเนินงานและคำแนะนำของ TCFD สำหรับกลยุทธ์ด้านสภาพภูมิอากาศปี 2568 ของเรา
  • ได้รับคะแนน B จากการประเมิน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ CDP
  • อัตราการใช้พลังงานเพิ่มขึ้น 5.60%
  • มีอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลง 3.57% เมื่อเทียบกับเป้าหมายปี 2568

ความมุ่งมั่นของเรา

  • ลดอัตราการใช้พลังงาน 5% ในปี 2568 เมื่อเทียบกับขอบเขตการรายงานปี 2563
  • ลดอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด (Scope 1 และ 2) 10% ในปี 2568 เมื่อเทียบกับขอบเขตการรายงานปี 2563
  • มุ่งมั่นที่จะเป็นบริษัทที่เป็นกลางทางคาร์บอน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การบริหารจัดการความเสี่ยง

การจัดหาจัดซื้ออย่างรับผิดชอบ

การรับผิดชอบต่อสังคม

ปกป้อง ลดปริมาณ และร่วมมือกับองค์กรที่มีจุดประสงค์ร่วมกันในการแก้ไขปัญหาขยะในมหาสมุทร

ผลลัพธ์

  • 324,256 ตัน เท่ากับ 21.6 พันล้าน ขวด PET หลังการบริโภค ได้รับการจัดการแทนการรั่วไหลลงสู่ทะเลในปี 2566
  • เสริมสร้างระบบนิเวศทางน้ำ: ปล่อยปลาน้ำจืดมากกว่า 12,000 ตัว
  • Indorama Ventures เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์ชายฝั่งราชนิเวศ ‘Upcycling for Life’

ความมุ่งมั่นของเรา

  • รีไซเคิลขวด PET หลังการบริโภคที่ถูกอัดเป็นก้อนต่อปี 750,000 ตัน ภายในปี 2568 และ 1,500,000 ตัน ภายในปี 2573
  • รีไซเคิลขวด PET หลังการบริโภคต่อปี 50,000 ล้านขวด ภายในปี 2568 และ 100,000 ล้านขวด ภายในปี 2573

การดูแลสิ่งแวดล้อม

การบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

รีไซเคิล

การจัดหาจัดซื้ออย่างรับผิดชอบ

การรับผิดชอบต่อสังคม

ลดความเสี่ยงของผลกระทบเชิงลบด้านสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้น และติดตามตรวจสอบพื้นที่ใหม่ในบริเวณโดยรอบการดำเนินงานของเรา

ผลลัพธ์

  • 324,256 ตัน เท่ากับ 21.6 พันล้าน ขวด PET หลังการบริโภค ได้รับการจัดการแทนการฝังกลบ ในปี 2566
  • 75% ของของเสียทั้งหมด ได้รับการจัดการแทนการฝังกลบ
  • ในเดือนมิถุนายน 2566, Indorama Ventures ได้ทำรายงาน Taskforce on Nature-related Financial Disclosures (TNFD)
  • ทำการประเมินความเสี่ยงด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Risk Assessments) ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี 2565 ครอบคลุม 100% ของการดำเนินงานทั่วโลก โดยใช้เครื่องมือ iBAT, ENCORE และ WWF ซึ่งไม่มีโรงงานใดอยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง
  • โครงการ Renova Mamona: ส่งเสริมชุมชนที่ยั่งยืน โดยโครงการนี้นำโดย Indovinya ใกล้กับโรงงาน Camaçari ในบราซิล มุ่งเน้นการเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชนท้องถิ่น quilombola ผ่านระบบเกษตรวนศาสตร์ (Agroforestry Systems) ที่ผสมผสานกับการปลูกพืชละหุ่ง

ความมุ่งมั่นของเรา

  • การปกป้องและการฟื้นฟูป่าที่ถูกทำลาย และส่งเสริมให้เกิดระบบนิเวศน์วิทยาและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
  • ลดมลภาวะบนบกด้วยการรีไซเคิลขวด PET จำนวน 50,000 ล้านขวดต่อปี ในปี 2568
  • 90% ของของเสียทั้งหมดได้รับการจัดการแทนการฝังกลบ ในปี 2568

การดูแลสิ่งแวดล้อม

การบริหารจัดการของเสียอย่างยั่งยืน

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

รีไซเคิล

การจัดหาจัดซื้ออย่างรับผิดชอบ

การรับผิดชอบต่อสังคม

ร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมในการผลักดันให้บรรลุตามเป้าหมายและเกิดเป็นเศรษฐกิจแบบหมุนเวียน

ผลลัพธ์

  • World Economic Forum 2567: คุณอาลก โลเฮีย พูดถึงพลวัตของการค้าระดับโลก การเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้บริโภค และการลดกำลังการผลิตลง 10% หลังสถานการณ์โควิด-19 ร่วมกับผู้นำระดับโลกกว่า 1,000 คน
  • TMA Sustainability Forum 2566: เน้นความสำคัญของการบูรณาการความเสี่ยงด้าน ESG ในกลยุทธ์องค์กร โดยเน้นไปที่นโยบายในยุโรป เทคโนโลยีเพื่อความยั่งยืน และการจัดลำดับความสำคัญด้านความปลอดภัย
  • UNEP INC Sessions: เข้าร่วมการประชุมระดับโลก 4 ครั้ง เพื่อสนับสนุนกฎการออกแบบเพื่อการรีไซเคิล การขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต (EPR) และการแก้ไขปัญหาพลาสติกที่มีปัญหา
  • Commitment to Governance: แสดงถึงความมุ่งมั่นในการส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมระดับโลกผ่านการสนับสนุนอย่างแข็งขัน
  • ในปี 2566: เราสนับสนุนเงินรวม 5,383,945 ดอลลาร์สหรัฐ เพื่อสร้างและเสริมความแข็งแกร่งให้กับความร่วมมือในอุตสาหกรรม เพื่อส่งเสริมแนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืน แก้ไขปัญหาระดับโลก และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมาย SDGs

ความมุ่งมั่นของเรา

  • ร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมในการผลักดันการบรรลุตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
  • ร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมในการผลักดันไปสู่เศรษฐกิจแบบหมุนเวียน

การเข้าร่วมสมาคมอุตสาหกรรมและการเข้าเป็นสมาชิก

  • = สนับสนุนอย่างเต็มที่
  • = สนับสนุน
  • = ติดตาม

เป้าหมายการดำเนินงาน 17 ฉบับและ 169 เป้าหมาย มุ่งมั่นที่จะขจัดความยากจน เสริมสร้างสิทธิมนุษยชน ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศ และเสริมสร้างศักยภาพของผู้หญิงและเด็ก พวกเราจะบูรณาการและแบ่งแยกและรักษาสมดุลสามมิติของการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม แต่ละเป้าหมายจะกระตุ้นการกระทำในพื้นที่ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อมนุษยชาติและโลก

ไอวีแอลให้คำมั่นสัญญาว่า ภายในปี 2573 เราจะร่วมลงทุนรวม 1 พันล้านบาทในโครงการต่างๆ ประมาณ 45 โครงการ ที่สนับสนุนการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยตรง นอกจากนี้เรายังมุ่งมั่นที่จะรวมเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไว้ในหัวใจหลักของกลยุทธ์และกิจกรรมทางธุรกิจของเรา

IVL's Key Focus Themes on SDGs

เรามีความมุ่งมั่นอย่างสูงที่ต้องการจะการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนภายในปี 2573 โดยภาคเอกชน ร่วมกับ รัฐบาล สถาบัน และชุมชน มีบทบาทสำคัญชุมชนมีบทบาสำคัญในการส่งมอบเป้าหมายเหล่านี้ เพื่อให้ได้รับความสนใจจากธุรกิจและเป็นการสร้างอนาคตที่ยั่งยืนมากขึ้น

ด้วยลักษณะการดำเนินธุรกิจ ไอวีแอลมุ่งมั่นที่จะแสดงบทบาทในการสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดังต่อไปนี้ เป้าหมายที่แสดงเป็นสีคือได้รับผลกระทบทางตรงจากการดำเนินธุรกิจซึ่งไอวีแอลให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ต่อเป้าหมายนั้น และเป้าหมายที่เป็นสีขาวคือได้รับผลกระทบทางอ้อมจากการดำเนินธุรกิจ ซึ่งไอวีแอลเฝ้าติดตามอย่างต่อเนื่อง

การรีไซเคิลและเศรษฐกิจแบบหมุนเวียน

นำลูกค้าของผลิตภัณฑ์รีไซเคิลเข้าสู่วงจรห่วงโซ่คุณค่าของผลิตภัณฑ์ และพัฒนาวิธีการเพื่อให้เกิดการรีไซเคิลในผลิตภัณฑ์ทั้งหมด

อ่านเพิ่มเติม

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

สอดคล้องกับความคิดระดับโลกที่เกิดขึ้นในงาน Paris Climate Conference (COP21) เพื่อพัฒนากลยุทธ์คาร์บอนต่ำที่แข็งแกร่ง

อ่านเพิ่มเติม

ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์

ลดความเสี่ยงของผลกระทบด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ของเรา

อ่านเพิ่มเติม

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

การพัฒนาทรัพยากรและสร้างความมั่นใจว่าการผลิตของเรา นั้นเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

อ่านเพิ่มเติม

สุขภาพและความปลอดภัย

รับประกันว่าสุขภาพและความปลอดภัยเป็นความสำคัญระดับต้นในกิจกรรมของเรา

อ่านเพิ่มเติม

สุขภาพ ความปลอดภัยพนักงาน และความเป็นอยู่ที่ดี

เพิ่มโอกาสในการพัฒนาโดยมุ่งเน้นไปที่การจ้างผู้หญิงและสนับสนุนความหลากหลายทางเพศ

อ่านเพิ่มเติม

ความรับผิดชอบต่อสังคมและการร่วมมือกับหน่วยงานอื่น

ทำให้ความรู้เรื่องรีไซเคิลเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ CSR Flagship Program ระดับโลกของเรา

อ่านเพิ่มเติม

SDGs Collaboration Project Highlights

PET Bottle Circularity Drive to Encourage Responsible Consumption and Reduce GHG Emissions

Indorama Ventures and the Faculty of Engineering and Industrial Technology at Silpakorn University joined together to drive the SDGs Collaboration Project, as part of the “Green Campus Kickstart: Step One to Sustainability.” This initiative is one of the key components within the “Circular Economy” course and aims to raise awareness about environmental issues caused by plastic waste, while promoting sorting practices in line with the university’s waste management policies. It serves as an inspiration for students to contribute to the circular economy by sustainably utilizing existing resources. This event focused on collecting post-consumer PET bottles for recycling and other environmentally responsible purposes. Initiatives like these play a vital role in reducing plastic waste and promoting sustainability. Indorama Ventures supported Recycling and Circular Economy Education to demonstrate how post-consumer PET bottles can be turned into new products, such as rPET resin and fibers. This aligns with responsible production and consumption (SDG 12), and also delivers other value in terms of carbon footprint reductions (SDG 13) and diverting PET waste from landfills (SDG 10).

Engaging with 300 undergraduate students, professors, and staff, the faculty collectively contributed a total of 900 kilograms of PET bottles during this one-day event. The PET bottles collected were sent for recycling at our recycling plant in Nakhon Pathom, contributing to a GHG reduction of almost one ton

SHARING SUSTAINABLE SOLUTIONS AT THE CLIMATE CHANGE CONFERENCE 2023

At the 28th United Nations Climate Change Conference (COP28), held from November 30 to December 12, 2023, at Expo City in Dubai, Indorama Ventures showcased its innovative sustainability solutions and decarbonization strategy, emphasizing its pioneering investments in developing sustainable solutions to mitigate PET’s environmental impacts while driving the global circular economy. Mr. Yash Lohia, Chairman of the ESG Council, emphasized Indorama Ventures’ commitment to environmental responsibility, pledging to intensify the use of renewable energy, produce low-carbon products, and optimize resource efficiency

Our participation at COP28 underscores collaborative environmental stewardship with the Thai government in addressing global climate challenges. Mr. Anthony M. Watanabe, our Chief Sustainability Officer, took part in a keynote session and panel discussion at the conference, sharing insights on the role of circularity in building a low-carbon world. He highlighted our groundbreaking initiatives, such as the world’s first sustainable monolayer PET sparkling wine bottle and advancements in biotransformation technology for hygiene items with global start-ups like SIPA and Polymateria, which aim to develop sustainable solutions and drive the global circular economy while emphasizing the Company’s dedication to sustainability and climate action.

UN Climate Week

In September 2023, Indorama Ventures’ Chief Sustainability Officer, Mr. Anthony M. Watanabe, participated in a series of leadership meetings during UN Climate Week in New York, hosted by the World Economic Forum. These discussions covered a wide range of climate issues, ranging from a global plastics treaty, to promoting circular trade and green foreign direct investment, in addition to building the business case for climate adaptation. The World Economic Forum organizes a Community of Chief Sustainability Leaders, which brings together over 100 Chief Sustainability Officers from top global companies across 24 industries and 28 countries to gain insights and remain updated on the latest nature and climate trends and their impacts on business.

Chief Sustainability Leaders play a vital role in helping CEOs and their organizations navigate this shifting landscape. Among the different topics, climate adaptation is a major concern for the community, not only because of the impacts leaders are already observing in their businesses but also because climate risk is a reporting requirement under the new Corporate Sustainability Reporting Directive (CSRD) framework in the EU.